จับตามองการแทรกแซงเงินเยนของญี่ปุ่น
ค่าเงินเยนที่ได้อ่อนตัวลงในรอบ 6 ปีนั้นเมื่อมีการเทียบกับค่าเงินดอลลาร์ โดยรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของญี่ปุ่นนั้นได้กล่าวถึงการผันผวนที่มากเกินไปจนทำให้ญี่ปุ่นไม่พึงพอใจจึงเกิดการแทรกแซงขึ้นเพื่อไม่ให้ค่าเงินของญี่ปุ่นร่วงลงมา ในการแทรกแซงขั้นแรกนั้นคือการแทรกแซงทางวาจาที่ทำได้ง่าย แต่ถ้าการแทรกแซงเจรจาไม่ผ่าน ต้องมีการแทรกแซงเข้าไปซื้อเงินเยนและทำการแทรกแซงตลาดการเงินโดยตรงครับ
ซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้เคยเกิดขึ้นที่ญี่ปุ่นเมื่อปี 1991-1992 และครั้งล่าสุดที่เกิดขึ้นจนญี่ปุ่นได้เข้าไปทำการแทรกแซงเนื่องจากวิกฤตการเงินของเอเชียคือปี 1998 โดยเหตุผลในการแทรกแซงนั้นคือการที่ค่าเงินเยนอ่อนตัวลงอย่างเห็นได้ชัดครับ
สำหรับการทำงานของการแทรกแซงค่าเงินนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากเศรษฐกิจของญี่ปุ่นเองที่ต้องมีการพึ่งพาการส่งออกอย่างหนัก ญี่ปุ่นเองจึงได้เห็นถึงความสำคัญการจับค่าของเงินเยนและหาแนวทางในการปฏิบัติเมื่อค่าเงินเยนลดลง แต่การเข้าแทรกแซงสกุลเงินนั้นมีเปอร์เซนต์ความล้มเหลวสูงจากการมีค่าใช้จ่ายที่สูง ดังนั้นการที่โตเกียวเองจะให้เกิดการแทรกแซงนี้เกิดขึ้น การแทรกแซงทางวาจาต้องมีความล้มเหลวก่อน
การแทรกแซงค่าเงินของญี่ปุ่น เมื่อญี่ปุ่นทำการแทรกแซงการขึ้นค่าเงินเยน กระทรวงการคลังของญี่ปุ่นเองจะมีการออกตั๋วเงินระยะสั้นเพื่อเพิ่มเงินเยนและมีการแทรกแซงเพื่อการหยุดยั้งการตกของเงินนั้นทางการเองต้องมีการแตะเงินทุนสำรองต่างประเทศเป็นดอลลาร์เพื่อแลกกับเงินค่ะโดยในทั้ง2 กรณีนี้ทางธนาคารจะเป็นส่วนที่เข้ามาดำเนินการครับ
แต่ในการที่จะดำเนินการแทรกแซงได้นั้นต้องมีการได้รับความยินยอมจากกลุ่ม G7 ด้วยนะครับ เนื่องจากถือว่าการแทรกแซงสกุลเงินนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายจะเข้าไปดำเนินการได้เลย ยกเว้นในกรณีที่ตลาดสกุลเงินได้มีความผันผวนรุนแรง